หน้าแรก สินเชื่อส่วนบุคคล

สินเชื่อส่วนบุคคล

แหล่งรวบรวมเคล็ดลับการเลือก เปรียบเทียบ และวิธีการสมัครขอสินเชื่อส่วนบุคคล พร้อมวิธีการบริหารหนี้และการหมุนเงิน วิธีการกำจัดหนี้เสียให้หมดไป

สินเชื่อ

ขอ สินเชื่อ ไม่ผ่าน ทําไงดี ลองอ่านสาเหตุที่บทความนี้

การขอ สินเชื่อส่วนบุคคล วิธีหนึ่งในการมีเงินก้อนสำหรับเอาไว้ทำสิ่งต่างๆ แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกคนจะได้รับการอนุมัติเหมือนกันหมด เพราะทางสถาบันการเงินเองเขาก็มีหลักในการพิจารณาเช่นกัน ซึ่งเหตุผลในการไม่อนุมัตินั้น masii ได้รวบรวมจากประสบการณ์แล้วนำมาแชร์ให้ดังนี้ พร้อมแนวทางในการจัดการครับ หากประสบปัญหาหรือมีข้อสงสัยว่า ขอ สินเชื่อ ไม่ผ่าน ทําไงดี? อ่านบทความนี้ต่อได้เลยครับ ... 5 เหตุผลที่การขอ สินเชื่อ ไม่ผ่าน ถ้าอยากรู้ว่าขอ สินเชื่อ ไม่ผ่าน ทำไงดี? ก่อนอื่นต้องมารู้จักสาเหตุที่เป็นไปได้ก่อนครับ 1. เอกสารไม่ครบถ้วน หลายคนมาตกม้าตายกันเมื่อต้องการจะขอสินเชื่อส่วนบุคคล แล้วเอกสารไม่ครบครับ เราต้องเข้าใจก่อนว่าสินเชื่อส่วนบุคคลเป็นสินเชื่อที่ไม่ต้องใช้หลักประกัน เช่น บ้าน รถ มาเป็นตัวค้ำประกันในการขอ สินเชื่อ ธนาคารจะให้คุณกู้ได้จากความน่าเชือถือของคุณครับ ดังนั้นเอกสารที่ทางธนาคารขอเพื่อไปพิจารณาความน่าเชื่อถือของคุณเพื่ออนุมัติเงินกู้จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นมาก แต่หลายคนก็อาจจะไม่มีเอกสารอยู่กับตัว ไม่อยากไปทำเรื่องขอกับทางบริษัทให้ออกเอกสารให้ใหม่ หรืออาจจะไม่สะดวกเปิดเผยข้อมูลบางอย่างที่อาจส่งผลให้กู้ไม่ผ่าน (บางคนอาจจะไม่อยากบอกรายได้ที่แท้จริง หรือปกปิดประวัติเครดติทางการเงิน)...
ประหยัดไฟ

เปิดแอร์ให้ ประหยัดไฟ ที่สุด กฟภ.แนะ 6 วิธี เซฟค่าไฟฟ้า

เปิดแอร์ ให้ ประหยัดไฟ ที่สุด จากกรณีที่สภาพอากาศในประเทศไทยร้อนทะลุเกินกว่า 41 องศา ส่งผลให้ปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น สิ่งที่ตามมาคือค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นมาเช่นเดียวกัน ซึ่งตอนนี้ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ. แนะ 6 ข้อ วิธีเปิดแอร์ให้ประหยัดไฟที่สุด เปิดแอร์ให้ ประหยัดไฟ ที่สุด กฟภ.แนะ 6 วิธี เซฟค่าไฟฟ้า 1. เลือกขนาด BTU แอร์ให้เหมาะกับพื้นที่ห้อง เพื่อให้แอร์ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และแอร์ขนาด 9,000–21,000 BTU เหมาะกับห้องขนาดเล็กถึงปานกลางอย่างคอนโด แอร์ขนาด 21,000–30,000 BTU เหมาะกับห้องขนาดกลางถึงใหญ่ เช่น ห้องนั่งเล่น ห้องโถง...
ฤกษ์ดี

อัพเดทฤกษ์ดี เช็กวันธงชัย เดือนพฤษภาคม 2567 พร้อมแนะเลี่ยงวันกาลกิณี

เรื่องของความเชื่อ โชคลาง หรือฤกษ์ยามมงคล ถือได้เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่คนไทยเราให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะเพื่อความเป็นสิริมงคล หรือเพื่อความสบายใจ เมื่อเวลาที่ต้องการที่จะเริ่มทำสิ่งใด ก็ต้องดูเวลาดูฤกษ์ดูยามที่ดีเพื่อเป็นการเริ่มต้นที่ดีด้วย ว่าแล้ววันนี้ มาสิ ก็ได้หยิบเอากับ ฤกษ์ดี วันธงชัย ประจำเดือนพฤษภาคม 2567 มาอัพเดทให้ทุกคนได้ดูกัน ซึ่งจะมีวันไหนบ้างนั้น ไปดูกันเลย ขอขอบคุณ : Kapook และ ไทยรัฐ ออนไลน์ สนใจสมัครสินเชื่อ อัพเดทฤกษ์ดี เช็กวันธงชัย เดือนพฤษภาคม 2567 พร้อมแนะเลี่ยงวันกาลกิณี ฤกษ์ดี วันธงชัย วันธงชัย หมายถึง วันที่จะมีชัยชนะ วันที่ดีที่สุด ยามที่ดีที่สุด เหมาะแก่การทำมงคล ที่จะให้ผลสำเร็จสูงสุด เป็นมิ่งขวัญของหมู่คณะ หมายถึง โชคชัย...
สินเชื่อส่วนบุคคล

ข้อควรรู้ก่อนและหลังกู้ สินเชื่อส่วนบุคคล & คำถามที่พบบ่อย

ข้อควรรู้ก่อนและหลังกู้ สินเชื่อส่วนบุคคล & คำถามที่พบบ่อย ก่อนกู้ต้องดูอะไรบ้าง 1. โฆษณาดอกเบี้ยต่อเดือน  ในการพิจารณาขอกู้สินเชื่อจากแต่ละสถาบันการเงิน บางทีอาจจะมีการโฆษณาว่าดอกเบี้ยของตนเองถูกกว่า ถูกที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรระวังโฆษณาที่ระบุว่า ดอกเบี้ยต่อเดือนน้อย หรือดอกเบี้ย 0% เพราะถ้าเป็นอัตราดอกเบี้ยต่อเดือน ให้คูณด้วย 12 เข้าไปด้วย จึงจะได้อัตราดอกเบี้ยต่อปีที่แท้จริง 2. ต้องคำนวณรวมตัวเลขทุกอย่าง ในทางปฏิบัติ เราไม่ควรพิจารณาแค่ "อัตราดอกเบี้ย" ของสินเชื่อแต่ละประเภทที่สถาบันการเงินเสนอมาเพียงอย่างเดียว เพราะในชีวิตจริงนั้น ทุกอย่างที่เป็นต้นทุนการกู้ของเราถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมด ไม่ว่าจะเรียกว่าดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการใดๆ ก็ตาม เพราะสำหรับสินเชื่อบางประเภทนั้น แม้ดอกเบี้ยของสินเชื่ออาจถูกกว่า แต่พอรวมค่าธรรมเนียมต่างๆ เข้าไปแล้ว เงินที่ต้องจ่ายทั้งหมดอาจจะแพงกว่าสินเชื่อประเภทอื่นก็ได้ เช่น ดอกเบี้ยสินเชื่อกดจากบัตรเครดิต ดอกเบี้ยอาจต่ำกว่าประเภทอื่น...
วัยทำงาน

วัยทำงาน 50+ หางานยังไงให้ได้งาน? ผู้เชี่ยวชาญเผย 6 เคล็ดลับต้องรู้!

เมื่อธุรกิจในอุตสาหกรรมต่างๆ ทั่วโลกต้องปรับตัวอย่างหนัก ทั้งจากเทคโนโลยี AI เข้ามาดิสรัปต์ และจากปัญหาเศรษฐกิจผันผวน เงินเฟ้อ ค่าครองชีพพุ่งสูง ทำให้ วัยทำงาน หรือ วัยแรงงานกลุ่มอายุ 50-60 ปีที่ยังเกษียณไม่ได้และต้องทำงานต่อไป โดยเฉพาะกลุ่มที่ เกษียณอายุงาน ก่อนวัย ( ช่วงอายุ 50 กว่าๆ ) อาจจะต้องกลับเข้าสู่ระบบแรงงานอีกครั้ง เพราะรายได้หลังเกษียณไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายหรือค่าครองชีพในยุคนี้ รวมถึงการขาดแคลนแรงงานอย่างหนักในหลายๆ ประเทศ ภาครัฐจึงจำเป็นต้องขยายอายุงานออกไปอีก เนื่องในวันแรงงาน 1 พฤษภาคม 2567 นี้ masii หยิบยกเรื่องราวที่น้่าสนใจของคนทำงาน...
ปรับโครงสร้างหนี้

ขอ ปรับโครงสร้างหนี้ แบบไหน…ที่เหมาะกับเรา

สิ่งสำคัญที่สุดในการ ปรับโครงสร้างหนี้ คือ เราต้องประเมินสถานการณ์ของเราก่อน เช่น รายได้ของเราลดลงมากน้อยแค่ไหนหรือเราขาดรายได้ และระยะเวลาที่รายได้ของเราลดลงหรือขาดรายได้จะนานแค่ไหน แล้วค่อยพิจารณาความคุ้มค่าของแต่ละทางเลือก บางทางเลือกอาจดูคุ้มค่า เช่น โดยรวม ๆ แล้วเราจะเสียดอกเบี้ยน้อยกว่า แต่ค่างวดในแต่ละเดือนอาจทำให้เราเหลือเงินไม่พอใช้จนต้องกู้เงินมาใช้จ่ายอีก ขอ ปรับโครงสร้างหนี้ แบบไหน...ที่เหมาะกับเรา เมื่อรายรับที่ได้ไม่พอจ่ายหนี้ หลายคนอาจใช้วิธี “ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย” แต่ใครจะรู้...ถึงแม้จะเป็นหนี้ที่ไม่มีหลักประกัน (เช่น หนี้บัตรเครดิต) การ “ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย” ก็อาจจะทำให้เจ้าหนี้ฟ้องยึดบ้าน หรือยึดทรัพย์สินอื่น ๆ ของเรา รวมถึงเสียประวัติเครดิต ไม่มีใครปล่อยกู้ และเสียหายถึงหน้าที่การงานของเราได้ การขอปรับโครงสร้างหนี้จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะทำให้เราไม่ผิดนัดชำระ และรักษาทรัพย์สินของเราไว้ได้ แต่เราต้องรู้ก่อนว่าการปรับโครงสร้างหนี้แต่ละแบบคืออะไร...
ปรับโครงสร้างหนี้

masii ชวนรู้ … ปรับโครงสร้างหนี้ … คืออะไร

เมื่อเกิดเหตุที่ทำให้รายรับลดลง รายจ่ายเพิ่มขึ้น หรือทั้ง 2 อย่างพร้อมกัน แม้จะลองลดค่าใช้จ่ายแล้ว แต่ก็มีแววว่าจะเริ่มจ่ายหนี้ไม่ไหว จะหาเงินก้อนมาปิดทันทีก็เป็นไปไม่ได้ ถ้าคุณกำลังเจอปัญหานี้ สิ่งแรกที่ต้องรีบดำเนินการคือ รีบติดต่อกับสถาบันการเงินหรือบริษัทที่เป็นเจ้าหนี้ เพื่อเจรจาขอ ปรับโครงสร้างหนี้ ที่มีอยู่ masii ชวนรู้ ... ปรับโครงสร้างหนี้ ... คืออะไร การปรับโครงสร้างหนี้ไม่ใช่เรื่องที่น่ากลัว แต่เป็นการช่วยเหลือลูกหนี้ที่ไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญากู้เงินที่เคยทำไว้กับเจ้าหนี้ได้อีกต่อไปได้ ด้วยการปรับเงื่อนไขการชำระหนี้ใหม่ให้เหมาะสมกับรายรับที่ลดลงหรือความสามารถในการชำระหนี้ที่เปลี่ยนไป โดยที่ไม่ต้องรอให้เป็นหนี้เสีย (Non-Performing Loan : NPL) เพราะหากปล่อยปัญหาหนี้ไว้นานเกินไปอาจส่งผลเลวร้ายกว่าที่คิด เช่น ถูกฟ้องร้อง ยึดทรัพย์ และหาทางออกได้ยากยิ่งขึ้น ก่อนจะเริ่มกระบวนการปรับโครงสร้างหนี้ เราควรเริ่มต้นจากการศึกษาทางเลือกในการปรับโครงสร้างหนี้และลองคิดไว้ล่วงหน้าว่าแบบไหนที่เหมาะกับความสามารถในการผ่อนชำระของเรามากที่สุด ตัวอย่างรูปแบบของการปรับโครงสร้างหนี้มีดังนี้ 1. ขอขยายเวลาชำระหนี้  หรือการยืดระยะเวลาชำระหนี้ออกไปซึ่งจะทำให้ค่างวดลดลง เช่น...
เงินเดือนข้าราชการ

เช็กเลย! เงินเดือนข้าราชการ แต่ละวุฒิการศึกษาปรับขึ้นเท่าไหร่ เริ่ม 1 พ.ค. 67

เรียกได้ว่าสร้างฮือฮาอย่างมาก กรณีการปรับขึ้น เงินเดือนข้าราชการ 2567 โดยในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 พ.ย. 2566 เห็นชอบการปรับอัตราเงินเดือนแรกบรรจุ การปรับเงินเดือนชดเชยผู้ได้รับผลกระทบการปรับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว และแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบราชการ ตามที่ สำนักงาน ก.พ. เสนอ เช็กเลย! เงินเดือนข้าราชการ แต่ละวุฒิการศึกษาปรับขึ้นเท่าไหร่ เริ่ม 1 พ.ค. 67 โดยการปรับ อัตราเงินเดือนข้าราชการบรรจุใหม่ ปรับขึ้น เงินเดือนข้าราชการ 1 พฤษภาคม 2567 ตัดสินจากคุณวุฒิ (ในประเทศ) ที่ ก.พ. รับรองเพื่อการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ จำนวน 34 คุณวุฒิ ซึ่งมีดังนี้ 1. วุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติแสดงความรู้ ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของแพทยสภา ในสาขาที่มีกําหนดเวลาศึกษา...
เงินฝากเผื่อเรียกพิเศษ

ออมสิน เปิดลงทะเบียน เงินฝากเผื่อเรียกพิเศษ เพื่อการเกษียณ 10 ปี ดอกเบี้ย 2.84%

เริ่มแล้ว! ธนาคาร ออมสิน เปิดลงทะเบียนจองสิทธิ เงินฝากเผื่อเรียกพิเศษ เพื่อการเกษียณ 10 ปี ดอกเบี้ย 2.84% ต่อปี เริ่ม 22 เม.ย.-30 มิ.ย.นี้ ออมสิน เปิดลงทะเบียน เงินฝากเผื่อเรียกพิเศษ เพื่อการเกษียณ 10 ปี ดอกเบี้ย 2.84% ธนาคารออมสินได้เปิดให้ลงทะเบียนจองสิทธิเงินฝากเผื่อเรียกพิเศษเพื่อการเกษียณ 10 ปี อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 2.84% ต่อปี (เทียบเท่าเงินฝากประจำ 3.34% ต่อปี) จ่ายดอกเบี้ยทุกปี โดยโอนเข้าบัญชีเงินฝากประเภทเผื่อเรียกที่เป็นบัญชีคู่โอน เมื่อฝากครบ 10...
สินเชื่อ

masii ชวนคุณมา … ไขความจริง … เรื่องปัญหา สินเชื่อ

เคยตกอยู่ในสถานการณ์ที่ต้องนั่งคิดเรื่องปัญหาหนี้เพียงลำพังหรือไม่ ซึ่งก็อาจมีช่วงเวลาที่เราคิดหรือเข้าใจอะไรไปเองสักอย่าง วาดภาพหรือจินตนาการไว้รูปแบบหนึ่ง แต่ในความจริงแล้วอาจกลับกลายเป็นอีกรูปแบบหนึ่งแบบตรงข้ามกันเลยทีเดียว มาไขความจริงกับปัญหาหนี้ สินเชื่อ สินเชื่อส่วนบุคคล เหล่านี้กันดีกว่าว่าเป็นอย่างที่คุณคิดไว้หรือไม่ masii ชวนคุณมา ... ไขความจริง … เรื่องปัญหา สินเชื่อ ความเชื่อที่ 1 : เจ้าหนี้คงไม่รับฟังปัญหา ไม่ช่วยเหลือ ความจริง เจ้าหนี้ทั้งหลายล้วนมีความจริงในใจอย่างเดียวกันข้อหนึ่งคือต้องการได้เงินที่ให้กู้ยืมกลับคืนมา (ยกเว้นเจ้าหนี้ที่ไม่ดีบางรายที่หวังยึดทรัพย์สินเพราะขายต่อแล้วจะได้เงินเกินมูลหนี้ เช่น ที่ดินในทำเลดี) ดังนั้น เมื่อตัวเราเกิดปัญหาจ่ายหนี้ไม่ไหว เช่นเพราะตกงาน รายได้ลดลง หรือความจำเป็นอื่น ๆ ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้ เพื่อชี้แจงเหตุผลและเจรจาขอปรับปรุงโครงสร้างหนี้ให้เหมาะกับสถานะทางการเงินของเรา เจ้าหนี้จะช่วยวิเคราะห์ หาทางออกปัญหา รวมถึงปรับเงื่อนไขการชำระหนี้ใหม่ให้เรา ซึ่งมีได้หลายรูปแบบ เช่น...