เคล็ดไม่ลับ! แนะนำวิธีใช้ “ไฟฟ้า” อย่างถูกต้องและปลอดภัยช่วง พายุฤดูร้อนถล่ม…พร้อมเสริมการป้องกันในการใช้ชีวิตกับประกันอุบัติเหตุ เบี้ยเริ่มต้นเพียงวันละ 3 บาท

เคล็ดไม่ลับ! แนะนำวิธีใช้ "ไฟฟ้า" อย่างถูกต้องและปลอดภัยช่วง พายุฤดูร้อนถล่ม...พร้อมเสริมการป้องกันในการใช้ชีวิตกับประกันอุบัติเหตุ เบี้ยเริ่มต้นเพียงวันละ 3 บาท
สมัครรถแลกเงินโปรโมชั่น แจกฟรี Voucher Lazada

อย่างที่ใครหลายคนจับตากันกับพายุฤดูร้อนลูกใหม่นี้ที่กำลังจะเกิดขึ้นในช่วงสัปดาห์ที่จะถึง ด้วยความที่เราห่างหายจากสภาพอากศฝนฟ้าคะนองมาสักระยะ ประกอบกับอุณหภูมิความร้อนที่สูงขึ้นในทุก ๆ วันอย่างนี้ จึงไม่ใช่เรื่องแปลกใดที่ใคร ๆ ก็ต่างแสวงหาสายฝนที่ฉุ่มฉ่ำมาช่วยคลายร้อนกัน แต่ทั้งนี้ ด้วยความที่เมื่อมีฝนมาก็กลับมาให้รูปแบบของพายุฝนฟ้าคะนอง ซึ่งอาจที่จะส่งผลกระทบให้กับหลายพื้นที่ที่ประสบภัยได้ ไม่แต่ทรัพย์สินที่อาจจะได้รับความเสียหาย แต่สวัสดิภาพร่างกายของเราก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องระวังให้มากขึ้นในช่วงนี้ด้วย และก็อย่างที่ใครหลายคนเคยได้ยินกันมา ด้วยความแปรปรวนของสภาพอากาศเช่นนี้อาจที่จะเกิดความเสี่ยงต่อการใช้งานเครื่องมือสื่อสาร หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ ดังนั้น วันนี้เรามาดูกันดีกว่า เราควรที่จะให้ไฟฟ้าอย่างไรให้ถูกต้องและปลอดภัยในช่วงที่มีพายุอย่างนี้ พร้อมกันนี้ ก่อนจากกันมาเสริมการป้องกันในการใช้ชีวิตกับ ประกันอุบัติเหตุ เบี้ยเริ่มต้นเพียงวันละ 3 บาท รายละเอียดจะมีอย่างไรบ้าง ต้องมาติดตามกัน

พายุฤดูร้อน
ฝนตกหนัก น้ำท่วม

เคล็ดไม่ลับ! วิธีใช้ “ไฟฟ้า” อย่างไรใ ห้ถูกต้องและปลอดภัยช่วง พายุฤดูร้อนถล่ม…พร้อมเสริมการป้องกันในการใช้ชีวิตกับ ประกันอุบัติเหตุ เบี้ยเริ่มต้นเพียงวันละ 3 บาท

หลังจากในวันนี้ ( 8 พ.ค.66) กรมอุตุฯ ได้ประกาศเตือนพื้นที่เสี่ยงภัยพายุฝนฟ้าคะนอง ลมกรรโชกแรง อันเนื่องมาจากพายุฤดูร้อน ประกอบกับในช่วงปลายเดือนที่ผ่านมากรมอุตุฯก็ได้ประกาศออกมาว่าประเทศไทยของเรานั้นจะก้าวเข้าสู่ฤดูฝนอย่างเป็นทางการในช่วงประมาณปลายสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนพฤษภาคม 2566 ซึ่งช้ากว่าปกติเล็กน้อย และจะสิ้นสุดประมาณกลางเดือนตุลาคม 2566 โดยปริมาณฝนรวมของทั้งประเทศ ในช่วงฤดูฝนปีนี้จะน้อยกว่าค่าเฉลี่ยปกติเล็กน้อย ประมาณร้อยละ 5

ซึ่งในช่วงฝนครึ่งแรก ประมาณกลางเดือนมิถุนายนถึงกลางเดือนกรกฎาคม จะเกิดสภาวะฝนทิ้งช่วง ส่งผลให้ปริมาณและการกระจายของฝนมีน้อย ซึ่งจะท้าให้เกิดการขาดแคลนน้้าในด้านการเกษตรในหลายพื้นที่ได้ ส่วนในช่วงฝนครึ่งหลังช่วงเดือนสิงหาคม กันยายนและตุลาคม เป็นช่วงที่มีฝนตกชุกหนาแน่นที่สุด และมีโอกาสสูง ที่จะมีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านบริเวณประเทศไทย ซึ่งส่งผลให้มีฝนตกหนักถึงหนักมากในหลายพื้นที่ และก่อให้เกิดสภาวะน้้าท่วมฉับพลัน น้้าป่าไหลหลาก รวมทั้งน้้าล้นตลิ่งได้ในหลายพื้นที่ได้เช่นกัน ทั้งนี้ ด้วยสภาพวะที่ไม่เอื้อำนวยบ่อยครั้ง ย่อมที่เกิดปัญหากับระบบไฟฟ้าขึ้น ทำให้หลายพื้นที่มีไฟฟ้าดับ จากเหตุเสาไฟล้ม หรือ จากกระแสไฟช็อต ไฟรั่ว หรือ ลัดวงจร ทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนได้

พายุฝน
ฝนตก น้ำท่วม

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) แนะนำวิธีใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้องในพายุ และฤดูฝน

เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเข้าฤดูฝน และรับมือกับพายุฤดูฝนที่เกิดขึ้น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) มีคำแนะนำวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้องและปลอดภัยในช่วงฤดูฝน ดังนี้

  • เมื่อเกิดฟ้าคะนอง ไม่ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด และถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าเปียกน้ำ เมื่อจะนำไปใช้งานควรเช็ดหรือผึ่งให้แห้งก่อน เพื่อป้องกันมิให้กระแสไฟฟ้าลัดวงจรภายในเครื่องใช้ไฟฟ้า
  • เมื่อร่างกายเปียกชื้น ห้ามแตะต้องส่วนที่มีกระแสไฟฟ้าเพราะอาจเกิดกระแสไฟฟ้ารั่ว เพราะความต้านทานของผิวหนังที่เปียกชื้นจะลดลงมาก ทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายได้โดยสะดวก เกิดกระแสไฟฟ้าดูดอาจถึงแก่ชีวิตได้
  • ควรติดตั้งสายดินป้องกันไฟฟ้ารั่ว และหากจำเป็นต้องใช้ไฟฟ้าในขณะที่ร่างกายเปียกชื้น เช่น การใช้เครื่องทำน้ำอุ่น นอกจากติดตั้งสายดินแล้ว ยังต้องติดตั้งเครื่องตัดไฟฟ้ารั่ว เพื่อเสริมการทำงานของสายดินให้ปลอดภัยยิ่งขึ้นด้วย
  • ตรวจสอบต้นไม้ที่อยู่ใกล้แนวสายไฟฟ้า หากมีกิ่งไม้อยู่ใกล้เกินไปหรือคาดว่าเมื่อมีลมพัดแรง อาจทำให้กิ่งไม้เอนไปแตะสายไฟฟ้า หรือต้นไม้หักโค่นล้มทับสายไฟฟ้า ให้แจ้ง PEA ในพื้นที่ทราบเพื่อดำเนินการแก้ไข
  • ให้ความร่วมมือในการตัดต้นไม้หรือตัดกิ่งไม้ที่กีดขวางแนวเสาไฟฟ้า สายไฟฟ้าและจุดปักเสาไฟฟ้า ไม่ควรตัดต้นไม้เอง เพราะอาจถูกกระแสไฟฟ้าดูดได้
  • หากพบกิ่งไม้ที่หักโค่นทับหรือพาดสายไฟฟ้าแรงสูง อย่าเข้าใกล้เพราะอาจมีกระแสไฟฟ้ารั่ว ควรรีบแจ้ง PEA ในพื้นที่ทราบ เพื่อดำเนินการแก้ไข

ขอขอบคุณ : TNN Online และ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA)

ทั้งนี้ เรื่องของอุบัติเหตุ เป็นเรื่องที่ใครก็ต่างไม่อย่างที่จะให้เกิดขึ้นกับเรากันทั้งนั้น แต่แม้อุบัติเหตุจะเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถคาดการณ์ได้ แต่จะดีกว่าหรือไม่หากเรามีการเตรียมความรับมือกับทุกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นด้วยกับ ประกันอุบัติเหตุ เริ่มต้นเพียงวันละ 3 บาท คุ้มครองครบทั้ง กรณีเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ สายตา การฟัง การพูดออกเสีย หรือทุพพลภาพ สูงสุด 800,000 บาท พร้อมรับชดเชยรายได้ ระหว่างการรักษาตัวในโรงพยาบาล สูงสุด1,000 บาทต่อวัน

ประกันอุบัติเหตุ ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ทิพยประกันภัย

แบบพิเศษ แผน PA PLUS

ทิพยประกันภัย

ประกันอุบัติเหตุ เบี้ยประกัน เริ่มต้นเพียงวันละ 3 บาท คุ้มครองครบทั้ง กรณีเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ สายตา การฟัง การพูดออกเสีย หรือทุพพลภาพ สูงสุด 800,000 บาท พร้อมรับชดเชยรายได้ ระหว่างการรักษาตัวในโรงพยาบาล สูงสุด1,000 บาทต่อวัน รายละเอียดความคุ้มครอง ดังนี้

ข้อตกลงความคุ้มครอง แผนประกันภัยผู้เอาประกันภัย
แผน 1 แผน 2 แผน 3 แผน 4
1. การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา การรับฟัง การพูดออกเสียง หรือทุพพลภาพถาวรจากอุบัติเหตุ (อบ.2) – ขยายความคุ้มครองการฆาตกรรมลอบทำร้าย และอุบัติเหตุขณะขับขี่ หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ 200,000 400,000 600,000 800,000
2. การรักษาพยาบาล (ค่าอุบัติเหตุแต่ละครั้ง) ขยายความคุ้มครองอุบัติเหตุขณะขับขี่ หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ 10,000 20,000 30,000 40,000
3.ผลประโยชน์การชดเชยรายได้ระหว่างเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล – ขยายความคุ้มครองอุบัติเหตุขณะขับขี่หรือโดยสาร รถจักรยานยนต์  (สูงสุด 365 วัน ต่ออุบัติเหตุ) 500 ต่อวัน 500 ต่อวัน 1,000 ต่อวัน 1,000 ต่อวัน
4.ค่าปลงศพ และค่าใช้จ่ายในการจัดการงานศพ กรณีเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่วย (ระยะเวลารอคอย 180 วัน สำหรับกรณีเสียชีวิตเนื่องมาจากการเจ็บป่วย) 10,000 10,000 20,000 20,000
เบี้ยประกันภัยรายปี (บาท) 870 1,310 2,030 2,460
ความคุ้มครอง
  1. การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา การรับฟัง การพูดออกเสียง หรือทุพพลภาพถาวรจากอุบัติเหตุ (อบ.2) (ขยายความคุ้มครอง ฆาตรกรรมลอบทำร้ายและอุบัติเหตุขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์
  2. การรักษาพยาบาล (ต่ออุบัติเหตุแต่ละครั้ง) ขยายความคุ้มครองอุบัติเหตุขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์
  3. ผลประโยชน์การชดเชยรายได้ระหว่างเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล ขยายความคุ้มครองอุบัติเหตุขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ (สูงสุด 365 วันต่ออุบัติเหตุ)
  4. ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายในการจัดการงานศพกรณีเสียชีวิตจากการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วย (ยกเว้นกรณีเสียชีวิตจากการเจ็บป่วยระยะเวลา 180 วันแรก)
เงื่อนไขการรับประกัน
  1. สำหรับผู้เอาประกันภัยอายุ 15 – 60 ปีบริบูรณ์ ขณะขอเอาประกันภัย
  2. ผู้ขอเอาประกันภัยทุกรายต้องกรอกใบคำขอและผ่านการพิจารณาตามเงื่อนไขที่บริษัทกำหนด
  3. อาชีพที่ไม่รับประกันภัย : จักรยานยนต์รับจ้าง, คนงานก่อสร้าง, ช่างยนต์, กรรมกร, พนักงานเหมือง, ชาวประมง, พนักงานทำความสะอาดกระจกรวมถึงอาคารสูง, ช่างไฟฟ้า, ยาม, พนักงานดับเพลิง, พนักงานสตั๊นท์แมน, พนักงานขับรถโดยสาร, คนขับรถแท็กซี่ หรือรถขนส่งประจำทาง, นักแข่งรถ, นักมวย, นักประดาน้ำ, นักปีนเขา, พนักงานขุดเจาะ, คนขับเรือ, อาสาสมัครกู้ภัย, พนักงานติดตั้งเสาอากาศหรือป้ายโฆษณา, นักศึกษาแผนกช่าง, พนักงานส่งเอกสาร, คนงานในโรงงานอุตสาหกรรม หรือผลิตแก๊ส หรืออาชีพอื่นที่มีความเสี่ยงในระดับเดียวกัน

สนใจสมัครประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล

หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถโทรมาสอบถามรายละเอียดต่างๆ ได้ที่ 02 710 3100 หรือแอดไลน์ @masii ( มี @ ด้วยนะครับ ) เพื่อติดตามข่าวสารและบทความดีๆ ที่ มาสิบล็อก เกี่ยวกับ บัตรเครดิต บัตรเดบิต บัตรกดเงินสด สินเชื่อส่วนบุคคล สินเชื่อบ้านแลกเงิน สินเชื่อรถแลกเงิน และผลิตภัณฑ์ทางการเงินจากสถาบันการเงินชั้นนำทั่วประเทศ

อ่านบทความที่น่าสนใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ประกันอุบัติเหตุ


Please become Masii Fan

Facebook: https://lnkd.in/gFFh8mh

Website: www.masii.co.th

Blog: https://masii.co.th/blog

Line: @masii

Tel: 02 710 3100

Youtube: https://lnkd.in/gbQf9eh

Instagram: https://lnkd.in/ga4j5ri

Twitter: twitter.com/MasiiGroup

#สินเชื่อ #สินเชื่อส่วนบุคคล

#ประกัน #สินเชื่อประกันการเดินทาง

#รถแลกเงิน #บ้านแลกเงิน #สินเชื่อส่วนบุคคล

#บัตรกดเงินสด #เงินด่วนทันใจ #สินเชื่อส่วนบุคคลออนไลน์

#กู้เงิน #เงินสด #เงินก้อน #เงินด่วน #เงินกู้ทันใจ #masii

#มาสิ #ครบง่ายสะดวก #เพื่อความสุขในชีวิตที่ดีกว่า

#ครบง่ายสะดวกเพื่อความสุขในชีวิตที่ดีกว่า #SimplifiedComparison