เหล่าทาสจงระวัง! เเพทย์เตือน ถูกน้อง แมว ข่วน-กัด เสี่ยงเจอโรคสปอโรทริโคซ

แมว
สมัครรถแลกเงินโปรโมชั่น แจกฟรี Voucher Lazada

ในปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่าผู้เคยหันมาที่จะสนใจ ใส่ดูแลแลสัตว์เลี้ยงของเรากันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นนนน้องหมา น้องแมว หรือสัตว์ลี้ยงประเภทไหน ๆ ผู้คนเรื่องใส่ใจและรับเข้ามาเป็นส่วนของกัน ไม่เพียงแค่เรื่องของอหารการกิน ยังไม่รวมไปสวัสดิการการดูแล และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่เหล่าทาส หรือเจ้าของเจ้านายตัวน้อยทั้งหลายยอมที่จะพร้อมจาย และทุ่มเทให้กับสัตว์เลี้ยงของเราได้อย่างเต็มที่ จึงเกิดเป็นเทรนด์ฮิตติดกระแสอย่าง Pet Parent ที่เหล่าทาสทั้งหลายพร้อมดูแลแลเอาใจใส่สัตว์เลี้ยงเหมือนลูกคนหนึ่ง แต่ถึงอย่างนั้น แม้เราจะเลี้ยงดูปูเสือ เอาใจใส่ดูแล ประคบประหงมเหล่าสัตว์เลี้ยงของเราได้ดีอย่างดีเท่าไหร่ แต่ถึงอย่างไร สัตว์เลี้ยงก็ยังคงเป็นสัตว์อยู่วันยังค่ำ ซึ่งก็อาจจะมีนิสัย หรือความดุร้ายแฝงอยู่ตัว แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น เมื่อโดนทำร้ายใช่ว่าเราจะปล่อยปะละเลยในการดูแลรักาบาดแผลให้ดี เพราะล่าสุด นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ์ แพทย์เฉพาะทางด้านโรคระบบการหายใจ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ โพสต์ข้อความระบุเตือนเหล่าทาสแมวทั้งหลายให้ระวัง หากถูกน้อง แมว ข่วนกัดเสี่ยงเจอโรคสปอโรทริโคซิสได้ รายละเอียดจะเป็นอย่างไรบ้างนั้น ตาม มาสิ ไปดูกัน

โรคสปอโรทริโคสิส (Sporotrichosis)

โรคสปอโรทริโคสิส หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “โรคพุ่มดอกกุหลาบ” เป็นโรคติดเชื้อราชนิดเรื้อรังของผิวหนังส่วนลึก และหลอดนํ้าเหลือง โรคสปอโรทริโคสิสเกิดจากการติดเชื้อรา Sporothrix schenckii ซึ่งมีผลต่อแมว สุนัขและคน ส่งผลต่อผิวหนัง และอาจมีผลต่อ ปอด ข้อต่อ กระดูก และสมอง ซึ่งเมื่อติดเชื้อโรคสปอโรทริโคสิสจะปรากฏรอยโรคให้เห็นเป็นตุ่มนูนสีแดง ชมพู หรือม่วง และอาจมีอาการปอดบวม หายใจถี่ ไอ และมีไข้  เชื้อ Sporothrix schenckii ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคสปอโรทริโคสิสพบได้ตามธรรมชาติในดิน หญ้าแห้ง หรือพืช ติดเชื้อทางผิวหนังผ่านบาดแผล เข้าสู่ทางเดินหายใจ ผ่านทางการสูดดมสปอร์ และโรคสปอโรทริโคสิสยังสามารถติดต่อผ่านการสัมผัสแมวที่ติดเชื้อโรคสปอโรทริโคสิส หรือแมวที่มีเชื้อโรคสปอโรทริโคสิสข่วน

แมว

อาการของ โรคสปอโรทริโคสิส

เริ่มแรกจะเป็นตุ่มขึ้นตามมือ, แขน, เท้า, หรือขา ที่ส้มผัสกับเชื้อก่อน มักเกิดภายใน 20 วัน หลังได้รับเชื้อ อาจเกิดพร้อมกันหลายตุ่ม แล้วค่อย ๆ โตขึ้น ไม่เจ็บ ไม่มีไข้ ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกว่าเจ็บป่วย ระหว่างนี้อาจกินเวลาหลายสัปดาห์ จากนั้นตุ่มจะแตกออกกลายเป็นแผลเรื้อรัง มีน้ำเหลืองไหล แผลคงอยู่ได้หลายปี แต่ไม่พบว่ามีการติดต่อจากคนสู่คนทางตุ่มที่แตกนี้ ในระหว่างนี้จะมีตุ่มใหม่เกิดขึ้นไส่ขึ้นไปตามแขนและขา เพราะเชื้อกระจายขึ้นไปทางท่อน้ำเหลือง ผู้ป่วยแทบทุกรายจะจำกัดรอยโรคอยู่แต่เฉพาะที่ผิวหนัง มีส่วนน้อยเท่านั้นที่กระจายเข้าสู่อวัยวะอื่นในเวลาต่อมา และมักเป็นผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ติดสุรา หรือใช้ยากดภูมิคุ้มกัน อวัยวะที่พบแล้วว่ากระจายไปได้ ได้แก่ ตา ไซนัส ในช่องปาก กล่องเสียง สมอง และต่อมลูกหมาก 

แมว

วิธีการรักษา “โรค” สปอโรทริโคสิส

  • ถ้าเป็นที่ผิวหนังอย่างเดียวสามารถใช้ยา Itraconazole ขนาด 200 มก./วัน รับประทานนาน 3-6 เดือน
  • ถ้าเป็นที่กระดูกหรือข้อต้องรับประทานนานอย่างน้อย 1 ปี ร่วมกับการผ่าตัดเลาะกระดูกที่ตายแล้วออก
  • ถ้าเป็นที่ปอดอาจใช้ Itraconazole กิน หรือ Amphotericin B ฉีด แล้วแต่ความรุนแรง และควรผ่าตัดเอาเนื้อปอดที่เสีย
  • ถ้าเป็นที่สมองหรือแพร่กระจายไปหลายอวัยวะควรใช้ Amphotericin B ฉีดในช่วงแรก หากรอดชีวิตจึงตามด้วย
  • I traconazole ขนาด 200 มก./วัน รับประทานต่อจนครบ 1 ปี
  • ในหญิงมีครรภ์ควรเลื่อนการรักษาออกไปจนคลอดบุตรก่อน (ถ้ารอได้) เพราะยา Itraconazole ไม่ปลอดภัยในคนท้อง

เเพทย์เตือน ถูกน้อง แมว ข่วน-กัด เสี่ยงเจอโรคสปอโรทริโคซิส

วันที่ 19 ก.ย. 65 หมอมนูญ โพสต์ผ่านเฟซบุ๊ก หมอมนูญ ลีเชวงวงศ์ FC ว่าพบผู้ป่วย “โรคสปอโรทริโคสิส (Sporotrichosis)” ที่เกิดจาก เชื้อรา ซึ่งพบในธรรมชาติ เข้าร่างกายทางบาดแผลจากการถูก แมว กัดหรือข่วน หรือถูกหนามธรรมชาติตำ ปีนี้โรงพยาบาลวิชัยยุทธ พบผู้ป่วยโรคนี้ 3 รายแล้ว โดยเชื้อรา Sporothrix schenckii จะอยู่ในธรรมชาติ มีแหล่งอาศัยอยู่ตามดิน ตามพืช และเปลือกต้นไม้ เข้าร่างกายทางบาดแผลที่ถูกหนามตำหรือใบไม้บาด หรือจากการถูก แมว ที่ป่วยด้วย โรคนี้กัดหรือข่วนได้

แมว

โดยในโพสต์ของ หมอมนูญ มีรายละเอียดว่าพบผู้ป่วยหญิงอายุ 51 ปี 1 ราย ใส่ถุงมือให้อาหาร และทำความสะอาดแมวจรจัดที่ป่วยมีแผลตามตัว ถูกเล็บแมวจิกที่หลังมือข้างซ้ายทะลุถุงมือ ทำให้เกิดแผล แมวตัวนี้อยู่ในเขตเมืองของ กทม. เสียชีวิตหลังจากนั้น 1 สัปดาห์ หลังทายาปฏิชีวนะแผลที่มือหาย แต่ 2 สัปดาห์ต่อมา วันที่ 13 พ.ค. 2565 เริ่มสังเกตมีตุ่มแดงที่หลังมือซ้ายไม่เจ็บ (ดูรูป) มาพบแพทย์ ตรวจร่างกายพบตุ่มแดงขนาด 0.5 ซม. ที่หลังมือข้างซ้าย ตรงกลางมีหนองเล็กๆ ต่อมน้ำเหลืองไม่โต

แมว

แพทย์ใช้เข็มเจาะดูดหนองได้เล็กน้อย ส่งย้อมแบคทีเรีย เชื้อรา พบยีสต์จำนวนมาก (yeast cells) ได้เริ่มยาฆ่าเชื้อรา Itraconazole 100 มก. วันละ 2 ครั้ง วันที่ 23 ก.ค. 65 ผลเพาะเชื้อรา ขึ้นเชื้อรา Sporothrix schenckii กินยา Itraconazole ตั้งแต่ 13 พ.ค.-16 ก.ย. 65 ในที่สุดแผลแห้งดี (ดูรูป)

แมว

ผู้ป่วยรายที่ 2 เกิดจากหนามกุหลาบเกี่ยวผิวหนังที่แขนด้านขวาบน และผู้ป่วยรายที่ 3 เลี้ยงแมว แต่ปฏิเสธถูกแมวข่วนหรือกัด เป็นที่ผิวหนังแขนข้างซ้าย โดย เชื้อรา Sporothrix schenckii อยู่ในธรรมชาติ มีแหล่งอาศัยอยู่ตามดิน ตามพืช และเปลือกต้นไม้ เข้าร่างกายทางบาดแผลที่ถูกหนามตำหรือใบไม้บาด หรือจากการถูกแมวที่ป่วยด้วยโรคนี้กัดหรือข่วน

เชื้อรานี้เมื่ออยู่ในร่างกายอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ มีลักษณะเป็นยีสต์ ถ้าอยู่ตามธรรมชาตินอกร่างกายอุณหภูมิต่ำกว่า จะมีลักษณะเป็นราสาย (ดูรูป) การรักษาโดยทั่วไปใช้ยาฆ่าเชื้อราชนิดกิน Itraconazole นาน 3-6 เดือน จนกว่าแผลจะหาย (ขอบคุณอาจารย์ ดร.พิริยาภรณ์ จงตระกูล ที่ปรึกษาแผนกจุลชีววิทยาโรงพยาบาลวิชัยยุทธ)

แม้จะเป็นโรคที่ไม่ได้พบกับบ่อย แต่ก็เรีเรียกได้ว่าสร้างความน่าได้พอสมควรเลยทีเดียวสำหรับ เหล่าทาสทั้งหลาย ดังนั้น เรื่องความสะอาดจึงเป็นเรื่องที่สำคัญที่เหล่าทาสทั้งหลายต้องให้ความใส่ใจ แม้ว่าน้อง แมว ของเรานั้นจะไม่อ่อนโยนต่อเราก็ตาม แต่เมื่อเราได้รับเขาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเราแล้วนั้น เราก็ต้องดูแลกันไปให้ได้อย่างเต็มที่ วันนี้ มาสิ จึงได้หยิบเอาอีกหนึ่งตัวช่วยดี ๆ ที่จะช่วยเสริมสร้างความคุ้มครองให้กับเจ้านายตัวน้อยของเราด้วย ที่ให้ความคุ้มครองครบทั้งการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ อีกทั้งความคุ้มครองพิเศษ ความเสียหายต่อบุคคลภายนอก กรณีน้องหมาของเราไปทำร้ายผู้อื่นด้วย เรียกได้ครบจบในที่เดียวจริง ๆ รายละเอียดจะเป็นอนอย่างไรบ้างนั้น ตาม มาสิ ไปดูกัน

ประกันสัตว์เลี้ยง เมืองไทย Cats & Dogs Plus

เมืองไทยประกันภัย

ความคุ้มครอง

  • มั่นใจด้วยความคุ้มครองที่ครบถ้วน ไม่ต้องกังวลอีกต่อไป
  • ดูแลสัตว์เลี้ยงของคุณด้วยเมืองไทย Cats & Dogs Plus
  • คุ้มครองสัตว์เลี้ยงแสนน่ารัก หากเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุ
  • พร้อมดูแลและรับผิดชอบหากสัตว์เลี้ยงของคุณทำให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บหรือทรัพย์สินเสียหาย

ตารางความคุ้มครอง ประกันสัตว์เลี้ยง แบบที่ 1 : แผนสำหรับสัตว์เลี้ยงไม่ได้ฝังไมโครชิพ

ความคุ้มครอง แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4
1. เสียชีวิตเนื่องจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วย 5,000 5,000 5,000
2. ค่ารักษาพยาบาลจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง 30,000 20,000 10,000 5,000
3. ค่ารักษาพยาบาลจากการเจ็บป่วย

ต่อการรักษาแต่ละครั้ง

สูงสุดต่อปี

 

3,000

15,000

 

2,000

10,000

 

1,000

5,000

 

1,000

5,000

4. ค่ารักษาพยาบาลของสัตว์เลี้ยงที่สืบเนื่องมาจากพยาธิ เห็บ หมัด ไร เล็น โรคเรื้อน หรือโรคผิวหนังทุกชนิด

ต่อการรักษาแต่ละครั้ง

สูงสุดต่อปี

 

 

 

3,000

15,000

 

 

 

2,000

10,000

 

 

 

1,000

5,000

 

 

 

1,000

5,000

5.ความรับผิดต่อบุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากสัตว์เลี้ยง ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน ของบุคคลภายนอก ( ต่อครั้ง / ต่อปี ) 20,000 15,000 10,000 10,000
6. ค่าใช้จ่ายในการโฆษณา การประกาศเพื่อติดตามสัตว์เลี้ยงที่สูญหาย ( ต่อครั้งต่อปี ) 5,000 3,000 2,000
7. การฉีดวัคซีน ตามประเภทโรคและกำหนดเวลาตามมาตรฐาน ( สูงสุดต่อปี ) 500
8. ค่าใช่จ่ายในการจัดงานศพ 5,000 3,000 2,000 2,000
9. การฝังไมโครชิพ ( 50% ของค่าใช้จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 250 บาท ) ( เฉพาะแผนที่ฝั่งไมโครชิพ )
เบี้ยประกันรายปี (รวมแสตมป์และภาษีมูลค่าเพิ่ม )
อายุ 3 เดือน – 7 ปี 13,200 8,900 5,600 3,200

 

ตารางความคุ้มครอง ประกันสัตว์เลี้ยง แบบที่ 2 : แผนสำหรับสัตว์เลี้ยงที่ฝังไมโครชิพ

ความคุ้มครอง แผนที่ 1 แผนที่ 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4
1. เสียชีวิตเนื่องจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือการเจ็บป่วย 5,000 5,000 5,000
2. ค่ารักษาพยาบาลจากการบาเดเจ็บจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง 30,000 20,000 10,000 5,000
3. ค่ารักษาพยาบาลจากการเจ็บป่วย

ต่อการรักษาแต่ละครั้ง

สูงสุดต่อปี

 

3,000

15,000

 

2,000

10,000

 

1,000

5,000

 

1,000

5,000

4. ค่ารักษาพยาบาลของสัตว์เลี้ยงที่สืบเนื่องมาจากพยาธิ เห็บ หมัด ไร เล็น โรคเรื้อน หรือโรคผิวหนังทุกชนิด

ต่อการรักษาแต่ละครั้ง

สูงสุดต่อปี

 

 

 

3,000

15,000

 

 

 

2,000

10,000

 

 

 

1,000

5,000

 

 

 

1,000

5,000

5.ความรับผิดต่อบุคคลภายนอกอันเนื่องมาจากสัตว์เลี้ยง ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน ของบุคคลภายนอก ( ต่อครั้ง / ต่อปี ) 20,000 15,000 10,000 10,000
6. ค่าใช้จ่ายในการโฆษณา การประกาศเพื่อติดตามสัตว์เลี้ยงที่สูญหาย ( ต่อครั้งต่อปี ) 5,000 3,000 2,000
7. การฉีดวัคซีน ตามประเภทโรคและกำหนดเวลาตามมาตรฐาน ( สูงสุดต่อปี ) 500
8. ค่าใช่จ่ายในการจัดงานศพ 5,000 3,000 2,000 2,000
9. การฝั่งไมโครชิป ( 50% ของค่าใช้จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 250 บาท ) ( เฉพาะแผนที่ฝั่งไมโครชิป ) 250 250 250 250
เบี้ยประกันรายปี (รวมแสตมป์และภาษีมูลค่าเพิ่ม )
อายุ 3 เดือน – 7 ปี 12,000 8,100 5,200 3,000

เงื่อนไขในการรับประกันภัย

  • สัตว์เลี้ยงต้องมีอายุระหว่าง 3 เดือน ถึง 7 ปี
  • สัตว์เลี้ยงต้องมีสุขภาพสมบูรณ์ ไม่มีอาการบาดเจ็บ พิการหรือเจ็บป่วย ( ดูจากใบรับรองตรวจสุขภาพสัตว์เลี้ยง )
  • สัตว์เลี้ยงต้องอยู่ในอาณาเขตประเทศไทยเท่านั้น
  • สัตว์เลี้ยงต้องได้รับการฉีดวัคซีนครบตามประเภทโรค และกำหนดเวลาตามมาตรฐาน
  • จำนวนกรมธรรม์สูงสุด 1 ฉบับ / สัตว์เลี้ยง 1 ตัว
  • ต้องมีไมโครชิพ ( กรณีทำ ประกันสัตว์เลี้ยง แบบฝังไมโครชิพ )
  • ค่าฝังไมโครชิพให้ความคุ้มครองเฉพาะ เมื่อกรมธรรม์มีผลบังคับเป็นครั้งแรก
  • กรณีทำประกันแบบฝังไมโครชิพ สัตว์เลี้ยงจะต้องได้รับการฝังไมโครชิพมาแล้วไม่เกินกว่า 30 วัน

ข้อยกเว้นสำคัญ ของกรมธรรม์ ประกันสัตว์เลี้ยง

  • กรมธรรม์ไม่คุ้มครองการเจ็บป่วยภายในระยะเวลา 60 วัน ( Waiting Period ) ในกรณีขาดต่ออายุให้เริ่มนับ Waiting Period ใหม่
  • ไม่คุ้มครองการเสียชีวิต การบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่วยที่เป็นสภาพที่เป็นมาก่อนการเอาประกันภัย การตรวจรักษาภาวะที่เป็นมาแต่เกิด หรือโรคทางพันธุกรรม
  • ไม่คุ้มครองการเสียชีวิต ที่มีสาเหตุมาจากพยาธิ เห็บ หมัด ไร เล็น โรคเรื้อน หรือโรคผิวหนังทุกชนิด
  • ไม่คุ้มครองการเสียชีวิตหรือการเจ็บป่วยที่มีสาเหตุมาจาก
    • การถูกฆ่าโดยเจตนา ถูกวางยาพิษ ยาโด๊ป หรือถูกกลั่นแกล้ง
    • โรคระบาดของสัตว์เลี้ยง
    • ภาวะโรคขาดอาหาร การอยู่รวมกันที่แออัด การขาดอากาศหายใจเนื่องจากคลื่นความร้อน
    • การผ่าตัด หรือฉีดวัคซีนปลูกฝี เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยจากโรค
    • ขณะการขนส่ง
  • ไม่คุ้มครองนอกอาณาเขตประเทศไทย
  • ไม่คุ้มครองการตรวจสุขภาพทั่วไป การรักษาหรือการผ่าตัดซึ่งไม่เกี่ยวกับการบาดเจ็บ

**รายละเอียด และข้อยกเว้นความคุ้มครองเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย

เอกสารที่ใช้ในการขอทำ ประกันสัตว์เลี้ยง ต้องครบทุกข้อ ดังนี้

  • ใบคำขอเอาประกันภัย ที่กรอกรายละเอียดครบถ้วนสมบูรณ์
  • ใบรับรองการตรวจสุขภาพของสัตว์เลี้ยง
  • สำเนาใบรับรองการฉีดวัคซีน
  • หลักฐานในการฝังไมโครชิพ (สำหรับสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฝังไมโครชิพมาแล้ว) สำหรับแบบที่ 1 รับประกันภัยแบบมีไมโครชิพ
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าของสัตว์เลี้ยง
  • รูปถ่ายของสัตว์เลี้ยง รวมถึงรูปถ่ายที่แสดงจุดเด่น (ตำหนิ) ของสัตว์เลี้ยงนั้น ไม่เกิน 2 สัปดาห์ ครบทุกรูปดังนี้
  • หน้าตรง
  • เต็มตัวด้านหน้า
  • ด้านข้าง (ซ้ายและขวา)
  • ท้อง
  • ตำหนิ

ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนซี้สี่ขา สัตว์เลี้ยงแสนรัก หรือเจ้านายตัวน้อยของเรา ไม่ว่าจะยามสุข ยามทุกข์ เราก็อยากให้เขาได้อยู่กับเราในทุกเหตุการณ์สำคัญของชีวิต และเมื่อเขาได้อยู่กับเราในทุกช่วงสำคัญของชีวิตการดูแลซึ่งกันและกันจึงเป็นเรื่องสำคัญที่เราใส่ใจ เพราะจะมีความสุขใดจะสุขใจได้กว่าการได้อยู่ร่วมกันกับคนที่คุณรัก สำหรับ เหล่าทาสคนไหนสนใจที่จะทำ ประกันสัตว์เลี้ยง ก็สามารถสมัครได้กับ มาสิ เลย

สนใจประกันสัตว์เลี้ยง เมืองไทย Cats & Dogs Plus

หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถโทรมาสอบถามรายละเอียดต่างๆ ได้ที่ 02 710 3100 หรือแอดไลน์ @masii ( มี @ ด้วยนะครับ ) เพื่อติดตามข่าวสารและบทความดีๆ ที่ มาสิบล็อก เกี่ยวกับ ประกันวินาศภัย ประกันรถยนต์ ประกันรถมอเตอร์ไซด์ ประกันสุขภาพ ประกันโดรน ประกันการเดินทาง ประกันอุบัติเหตุ ประกันภาคธุรกิจ และพ.ร.บ. รวมทั้ง ผลิตภัณฑ์ทางการเงินจากสถาบันการเงินชั้นนำทั่วประเทศ

อ่านบทความที่น่าสนใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ประกันสัตว์เลี้ยง

_____________________________________________

Please become Masii Fan

Facebook: https://lnkd.in/gFFh8mh

Website: www.masii.co.th

Blog: https://masii.co.th/blog

Line: @masii

Tel: 02 710 3100 

Youtube: https://lnkd.in/gbQf9eh

Instagram: https://lnkd.in/ga4j5ri

Twitter: twitter.com/MasiiGroup

#สินเชื่อ #ประกัน

#ประกันบ้าน #ประกันภัยบ้าน

#รถแลกเงิน #บ้านแลกเงิน #สินเชื่อส่วนบุคคล

#บัตรกดเงินสด #เงินด่วนทันใจ #สินเชื่อส่วนบุคคลออนไลน์

#กู้เงิน #เงินสด #เงินก้อน #เงินด่วน #เงินกู้ทันใจ #masii

#มาสิ #ครบง่ายสะดวก #เพื่อความสุขในชีวิตที่ดีกว่า

#ครบง่ายสะดวกเพื่อความสุขในชีวิตที่ดีกว่า #SimplifiedComparison